การอนุบาลปลากัดไทย

ดไทยหรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าปลากัด เป็นปลากัดตู้ชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย ปลากัดได้รับความนิยมเพราะคีบหางที่มีความก้าวร้าว ต่อปลาชนิดอื่นที่เป็นเพศผู้ ผู้คนส่วนใหญ่มีความเชื่อผิดๆ มากมายเกี่ยวกับปลากัดซึ่งเป็นเหตุให้ปลากัดได้รับการดูแลแบบผิดๆ ซึ่งอาจเป็นเหตุไปสู้การทำให้ปลากัดตายก่อนวัยอันควร

ปลากัดไทยหรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าปลากัด เป็นปลากัดตู้ชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย ปลากัดได้รับความนิยมเพราะคีบหางที่มีความก้าวร้าว ต่อปลาชนิดอื่นที่เป็นเพศผู้ ผู้คนส่วนใหญ่มีความเชื่อผิดๆ มากมายเกี่ยวกับปลากัดซึ่งเป็นเหตุให้ปลากัดได้รับการดูแลแบบผิดๆ ซึ่งอาจเป็นเหตุไปสู้การทำให้ปลากัดตายก่อนวัยอันควร 

ปลากัดมีลักษณะนิสัยที่ต่างกัน  ตัวจะ ตัวจะมีให้ ตัวจะมีให้เห็นถึงความแตก ตัวจะมีให้เห็นถึงความแตกต่างของแต่ละตัวอย่าง ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือปลากัดบางตัวจะมีนิสัยดุร้ายมาก ในขณะที่ตัวอื่นๆ มีนิสัยสงบ ต่อไปจะกล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้นที่ควรรู้สำหรับการเลี้ยงปลากัด ไม่ว่าจะเป็นลักษณะนิสัยโดยทั่วไป   ปากอื่นที่เลี้ยงรวมกันได้ รวมไปถึงอุปกรณ์เบื้องต้นที่พึ่งมีในการเลี้ยงปลากัด 

ทำความรู้จักก่อนจะเลี้ยง 

ถ้าคุณเคยไปในสถานที่ที่ขายสัตว์เลี้ยง หรือตลาดปลาสวยงามคุณน่าจะเคยสังเกตเห็นขวดโหลเลี้ยงปลาขนาดเล็กที่ทำจากแก้ว พลาสติก เมื่อมองเข้าไปใกล้ๆ คุณจะเห็น ปากคีบยาวๆที่มีสีสันที่สวยงามสดใสนั่นคือสัญลักษณ์ของปลากัดนั่นเอง 

ปลากัดมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Betta Splendens หรือรู้จักกันโดยทั่วไปvย่างสากลในชื่อ Siamese Fighting Fish ปลากัดมีต้นกำเนิดในประเทศไทยและได้รับการคัดเลือกเพราะพันธุ์มาเลี้ยงอย่างแพร่หลายในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จุดประสงค์หลักในการเพาะพันธุ์ของผู้เลี้ยงปลากัดคือการเลือกพันธุ์ที่มีความแข็งแกร่งให้เหมาะสมกับนิสัยที่ดุร้ายตามธรรมชาติ

ความดุร้ายเป็นลักษณะนิสัยพี่เป็นไปตามธรรมชาติโดยเฉพาะปลากัดพันธุ์พื้นบ้าน 

โดยทั่วไปปกติจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 2 ถึง 3 ปี สำหรับตัวที่อายุยืนจะมีอายุถึง 5 ปี ปลากัดที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงคือเพศผู้ มีรูปร่างเล็ก ที่มีสีสันสวยงาม และมีนิสัยที่ดุร้ายกว่าเพศผู้ 

ด้วยเหตุนี้ในตลาดปลาสำหรับเลี้ยงจึงมีการขายปลากัดทั้งสองเพศเป็นที่รู้กันโดยทั่วไปว่าไม่ควรนำปลากัดเพศผู้และเพศเมียมาเลี้ยงไว้ด้วยกันตลอดเวลา ตัวเมียเองก็ดุร้ายและอาจมีการต่อสู้กันตามมา แม้แต่ในฤดูผสมพันธุ์ ปลากัดตัวผู้จะก่อหวอดเรียกร้องความสนใจจากปลากัดตัวเมียเมื่อต้องการผสมพันธุ์ ถ้าปลากัดตัวเมียถูกปล่อยไปในที่เดียวกันและเห็นหวอด การผสมพันธุ์ก็จะเกิดขึ้น หวอด มีลักษณะเหนียว เพื่อให้ไข่จากปลากัดตัวเมียสามารถเข้าไปอยู่ข้างในได้ ปลากัดต้องการอาหารที่มีโปรตีนสูง ตั้งแต่เกิดอาการเบื่อถ้าได้รับอาหารแบบเดิมบ่อยๆ 

Leave a Reply

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *